(FDA09) วิธีการและขั้นตอนการจดแจ้งผลิต เพื่อขายเครื่องสำอาง ผ่านระบบ e-submission

วิทยากร

ภญ.ปริณดา เตชะศิรินุกูล
ตำแหน่ง : เภสัชกรชำนาญการ
สังกัด : กองควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
Outlines
- ความหมายของคำว่า “ผลิต” ตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ.2558
- ผู้ผลิต ผู้แบ่งบรรจุ ผู้รับจ้างผลิต ผู้ว่าจ้างผลิตเจ้าของผลิตภัณฑ์ ผู้จัดจำหน่าย คือใคร มีหน้าที่ต่างกันอย่างไร
- หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้ผลิตเครื่องสำอาง
- วิธีการและขั้นตอนการจดแจ้งผลิตเพื่อขาย รับจ้างผลิตเครื่องสำอางผ่านระบบ e-submission
- การจดแจ้งผลิตเพื่อขายในประเทศ/ผลิตเฉพาะเพื่อการส่งออกเท่านั้น
- การจดแจ้งเฉพาะเพื่อการส่งออกเท่านั้น โดยมีคุณภาพ มาตรฐาน ฉลากหรือรายละเอียดอื่นๆ ตามที่ผู้สั่งซื้อกำหนด(มาตรา35)
- หลักเกณฑ์การพิจารณารับจดแจ้ง และเอกสารที่ต้องจัดเตรียมประกอบการพิจารณา
- การขอหนังสือรับรองเพื่อการส่งออก เช่น Certificate of Free Sale (CFS), Certificate of Product Origin (CPO)
- ปัญหาที่พบบ่อยและข้อควรระวังในการจดแจ้งผลิตเพื่อขายเครื่องสำอาง
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายเครื่องสำอาง
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้โดยละเอียดเกี่ยวกับการจดแจ้งผลิตเพื่อขายเครื่องสำอาง
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการและขั้นตอนการจดแจ้งผลิตเพื่อขายเครื่องสำอาง
- ผู้เข้ารับการอบรมสามรถจัดเตรียมเอกสารและยื่นคำขอจดแจ้งเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง
บทนำ
วิธีการและขั้นตอนการจดแจ้งผลิต เพื่อขายเครื่องสำอาง ผ่านระบบ e-submission
แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้บทเรียนออนไลน์
ความสำคัญ (หลักสูตรนี้ให้อะไบ้าง)การจดแจ้งเครื่องสำอาง, การผลิตเพื่อขายเครื่องสำอาง, e-submissionคำอธิบายรายวิชาการอบรมนี้เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการและขั้นตอนการจดแจ้งผลิตเพื่อขายเครื่องสำอางผ่านระบบ e-submission หลักเกณฑ์การพิจารณารับจดแจ้ง และเอกสารที่ต้องจัดเตรียมประกอบการจดแจ้งเครื่องสำอาง รวมถึงปัญหาที่พบบ่อยและข้อควรระวังในการจดแจ้งผลิตเพื่อขายเครื่องสำอาง