(FDA02) กฎระเบียบทางเครื่องสำอาง

วิทยากร

นางสาวกุลธิดา สุขนิวัฒน์ชัย
ตำแหน่ง : เภสัชกรชำนาญการ
สังกัด : กลุ่มกำหนดมาตรฐานเครื่องสำอาง
กองควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
- การศึกษา
-ปริญญาตรี เภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
-ปริญญาโท เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมชุมชน มหาวิทยาลัยนเรศวร
- ประสบการณ์การทางาน
-ปฏิบัติงานที่กลุ่มกำหนดมาตรฐานเครื่องสำอางกองควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
– ผู้แทนประเทศไทย คณะกรรมการวิชาการเครื่องสำอางอาเซียน (ASEAN Cosmetic Scientific Body: ACSB) ตั้งแต่ปี 2556
– คณะทำงานโครงการพัฒนาสมุนไพรเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ด้านเครื่องสำอาง) รองรับการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ปี 2556 – ปัจจุบัน
– คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการ ในคณะอนุกรรมการมาตรฐานเครื่องสำอาง และคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง
Outlines
- ASEAN Cosmetic Directive
- พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง
- กฎหมายลำดับรองที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- เพื่อเสริมสร้างความรู้กฎหมายเกี่ยวกับเครื่องสำอางให้ผู้ประกอบการและผู้ที่สนใจเพื่อดำเนินการเกี่ยวกับเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง
บทนำ
EP01. Asean Cosmetic Directive
1
บทนำ + AHCR
2
วัตถุประสงค์ + หลักการของกฎระเบียบ
3
The Asean cosmatic directive (ACD)
4
Technical Document
5
ข้อกำหนดของ Asian
6
เครื่องสำอาง
7
Decision Process of ICP การวินิจฉัยผลิตภัณฑ์
8
ผลิตภัณฑ์ ที่ไม่จัดเป็นเครื่องสำอาง
9
ข้อกำหนดเรื่องความปลอดภัย + การแสดงฉลาก + การกล่าวอ้างสรรพคุณของผลิตภัณฑ์
10
รายการสารต่างๆ
11
ASEAN GUIDELINES ON LIMITS OF CONTAMINANTS FOR COSMETICS
12
BOTANICAL SAFETY ASSESSMENT GUIDANCE DOCUMENT
13
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ (PIF)
14
หลักเกณฑ์วิธีการปฎิบัติที่ดีในการผลิตเครื่องสำอาง
EP02. พรบ. เครื่องสำอาง
1
พรบ. เครื่องสำอาง
2
ความก้าวหน้าของกฎหมาย
3
นิยาม เครื่องสำอางตาม พรบ. เครื่องสำอาง
4
มาตรการกำกับ ดูแลเครื่องสำอาง
EP03. กฎหมายลำดับรองที่เกี่ยวข้อง
1
กฎหมายลำดับรองที่เกี่ยวข้อง + มาตรการกำกับดูแลเครื่องสำอาง
2
รายการสารด้านเครื่องสำอาง
3
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยวัตถุที่ห้ามใช้ / อาจใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอาง
4
ประกาศคณะกรรมการเครื่องสำอาง ว่าด้วยการแสดงคำเตือนที่ฉลากของเครื่องสำอาง ที่มีวัตถุที่ใช้ / อาจใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอาง
5
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุกันเสีย ที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอาง + ประกาศคณะกรรมการเครื่องสำอาง ว่าด้วยการแสดงคำเตือนที่ฉลากของเครื่องสำอางที่มีวัตถุกันเสีย
6
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยสี ที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอาง
7
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยสารป้องกันแสงแดด ที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสำอาง + ประกาศคณะกรรมการเครื่องสำอาง ว่าด้วยการแสดงคำเตือนที่ฉลากของเครื่องสำอางที่มีสารป้องกันแสงแดด
8
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กำหนดลักษณะของ เครื่องสำอางที่ห่ามผลิต นำเข้าหรือขาย
9
ตัวอย่างกฎหมายลำดับรองอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
10
การสืบค้นกฎหมายเกี่ยวกับเครื่องสำอาง
แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้บทเรียนออนไลน์
1
กรุณากรอกแบบประเมินให้ครบถ้วน
ความสำคัญ (หลักสูตรนี้ให้อะไบ้าง)
ก่อนที่จะดำเนินกิจการด้านเครื่องสำอาง ผู้ประกอบการควรรู้กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องให้ครอบคลุมทุกด้าน เพื่อให้การดำเนินการถูกต้องตามกฎหมาย ลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับผู้บริโภค รวมถึงผู้ประกอบการเอง
เป็นคนแรกที่จะเพิ่มความคิดเห็น.
Please, login to leave a review